วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

น้ำข้าวกับไข่ขาวดิบ ผู้ป่วยไตทานได้ไหม?

น้ำข้าวกับไข่ขาวดิบ ผู้ป่วยไตทานได้ไหม?

ไข่ขาวดิบกับน้ำข้าว
ผู้ป่วยไตเสื่อมควรทานหรือไม่?

เราลองมาพิจารณากัน
ทีละส่วน ว่าจำเป็นหรือไม่?

• ไข่ขาวดิบ
ร่างกายไม่สามารถนำไปใช้งานได้
ผู้ป่วยไตเสื่อมมีความเสี่ยง
ในการติดเชื้อได้ง่าย
การทานอาหารไม่สด
อาจทำให้ติดเชื้อง่าย
ส่งผลให้ขับถ่ายบ่อย
อาจหมดแรงมากกว่าเดิม

• น้ำข้าว น้ำซาวข้าว
มีส่วนประกอบของแร่ธาตุจำนวนมาก
ซึ่งโดยปกติ ผู้ป่วยไตเสื่อม
มักต้องควบคุมแร่ธาตุ

หากแร่ธาตุมากเกินไป
ไตที่เสื่อมนั้น
ไม่สามารถเอาแร่ธาตุเหล่านี้ออกได้

ส่งผลทำให้ค่า BUN , Cr สูงขึ้นได้
อาจส่งผลหัวใจทำงานหนักขึ้น
อาจส่งผลคันได้

การทานอาหารครบ 5 หมู่
ครบ 3 มื้อปกติ
ทานในปริมาณพอเหมาะ

เลือกวัตถุดิบอาหารที่เหมาะกับไต
ตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนำ

ทาน UMI + HRT
ตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนำ
ให้ต่อเนื่องและตรงเวลา
แค่นี้ร่างกายแข็งแรงขึ้นได้ค่ะ

=========
#umiบำรุงตับไต
#umiขายดีอันดับหนึ่ง
#umiราคาถูกที่สุด
#umiของแท้จากอเมริกา


ไตเสื่อม ฟอกไต ล้างไต อาการโรคไต
โรคไตเสื่อม ดูแลยังไง เกิดจากอะไร
http://www.hrtexo.com/

สมุนไพร กับ ผู้ป่วยไตเสื่อม

เตือนสมุนไพรทำ โรคไต กำเริบ (แชร์เลย...เพื่อคนที่คุณรัก)
เวลาเตือนก็ฟังกันบ้าง...
โรคไตเป็นโรคที่ละเอียดอ่อนในเรื่องของการรับประทาน
ไม่ว่าจะทั้ง ยา สมุนไพร หรือ อะไรก็แล้วแต่ที่เอาเข้าปาก

ผศ.พญ.สุภินดา ศิริลักษณ์ แพทย์อายุรกรรมโรคไต
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร กล่าวว่า
สมุนไพรที่มีผลต่อการทำงานของไต
โดยเฉพาะผู้ที่ป่วยแล้ว เช่น

เห็ดหลินจือ เป็นสมุนไพรจีนที่ดังมากในกลุ่มผู้ป่วยโรคไต
แต่ที่จริงหากผู้ป่วยที่กำลังฟอกเลือด
แล้วรับประทานเห็ดหลินจือเข้าไป จะทำให้ไตเสื่อมไตวายได้

มะม่วงหาวมะนาวโห่
อาจมีผลทำให้ไตขับสารโพแทสเซียมออกมาไม่ทัน
ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะและอาจเสียชีวิตได้
มะเฟือง มีกรดออกซาเลตหรือกรดออกซาลิก
ทำให้เกิดไตวายเฉียบพลัน

ตะลิงปลิง และ ป๋วยเล้ง กินเยอะ อาจทำให้ไตวายเฉียบพลัน
ส่วน แครนเบอรี่ ส่วนใหญ่มักทำเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
รับประทานมากทำให้เกิดนิ่ว และผลการทำงานของไตผิดปกติ
และมีรายงานจากทั่วโลกว่า ห้ามใช้สมุนไพร ไคร้เครือ
เพราะทำให้ไตวายและเป็นมะเร็งระบบปัสสาวะ

ก่อนอื่น...รู้ไหมไตทำหน้าที่อะไร

️หน้าที่หลักของไต คือ
การกรองของเสียที่อยู่ในเลือดและขับถ่าย
ออกนอกร่างกายทางน้ำปัสสาวะ
แล้วอะไรคือของเสียที่อยู่ในเลือด
️ของเสียที่อยู่ในเลือด คือ สารที่มากับเลือด
และถูกส่งเข้าหน่วยไตหน่วยไตจะกรองสารที่มีอยู่ในเลือด
สารที่ยังมีประโยชน์จะถูกหน่วยไตดูดซึมกลับคืนสู่เซลล์
ส่วนของเสียอื่น ๆจะถูกส่งไปตามหลอดไตลงสู่กระเพาะปัสสาวะ

โรคไต หมายถึง โรคชนิดหนึ่งที่เกิดจากความผิดปกติของไต ในการทำงานเพื่อขับของเสียออกจากร่างกาย

โรคไตมีหลายประเภท อาทิเช่น โรคไตวายฉับพลัน
โรคไตวายเรื้อรัง โรคไตอักเสบ
โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
และโรคถุงน้ำที่ไต เป็นต้น

การดูแลสำหรับผู้ป่วยไต ที่สำคัญที่สุดคือ
การคุมอาหาร ไม่ทานอาหารรสจัด
งดอาหารที่มีโซเดียมและโพแทสเซียมสูง

เพื่อเป็นการกำหนดปริมาณของเสียที่จะเข้าสู่ร่างกายให้น้อยลง
แล้วเกี่ยวอะไรกับสมุนไพร...
เพราะสมุนไพรหลายชนิดมี โพแทสเซียมสูง

สมุนไพรที่มีสรรพคุณ 108
ก็จะประกอบไปด้วยสารต่างๆมากมาย
ซึ่งในกรณีผู้ป่วย โรคไต ก็อาจจะกลายเป็นภาระของไต
เพิ่มการทำงานของไต

ทั้งนี้ ผู้ป่วยโรคไตควรหลีกเลี่ยงสมุนไพร ยาแผนโบราณ
ยาจีนต่างๆ เนื่องจากทำให้โพแทสเซียมในเลือดสูง
หากไม่ได้อยู่ในการดูแลของแพทย์ ‍

โรคไต ดีขึ้นได้ ถ้าไม่อยากฟอกไต
ต้องได้รับการดูอย่างถูกต้อง
ทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของโรค
ไตเสื่อมฟื้นฟูได้เพียงดูแลโรคต้นเหตุ
หัวใจ ความดัน HRT สีเหลือง ปรับสมดุล
เบาหวาน เก๊าท์ UMI สีเขียวช่วยฟื้นฟู ปรับสมดุล
ดังนั้นการทาน UMI HRT
เพื่อช่วยซ่อมแซมไตที่เหลืออยู่
ชะลอความเสื่อมของไต
ลดค่าของเสีย
ลดการบวม ปวดหลัง
และอาการข้างเคียงต่างๆ
หัวใจโต เหนื่อยง่าย ได้อีกด้วย

กว่า 15 ปี ในไทย ที่ UMI HRT
ได้ช่วยผู้ป่วยไต มีสุขภาพที่ดีขึ้น
โรคไต...ไว้วางใจ UMI HRT
UMI HRT ปลอดภัย มาตรฐานสากล
====================
ไตเสื่อม ฟอกไต ล้างไต อาการโรคไต
โรคไตเสื่อม ดูแลยังไง เกิดจากอะไร
ศึกษา http://www.hrtexo.com

วันพุธที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2561

น้ำอัญชัญ ไตเสื่อม ทานได้หรือไม่ ??



น้ำอัญชัญ ไตเสื่อม ทานได้หรือไม่ ??

ผู้ป่วยโรคไต ไม่ควรดื่มน้ำอัญชันแทนน้ำเปล่า ถึงแม้ว่าดอกอัญชันจะเป็นสมุนไพรชั้นยอด แต่ก็มีโทษ ถ้าหากบริโภคมากเกินไป จะทำให้ไตทำงานหนัก เนื่องจาก น้ำอัญชันจะมีสีเข้ม ไตจึงต้องขับเอาสารสีจากดอกอัญชันออกมา

ผู้ป่วยที่เป็นโรคความดัน โลหิตสูง หรือความดันโลหิตต่ำ ควรงดบริโภคน้ำอัญชันหรือบริโภคแต่น้อยเท่านั้น เพราะจะทำให้เกิดอาการหน้ามืดและหมดสติได้ง่าย

ผู้ป่วยโรคโลหิตจาง ควรระมัดระวังในการบริโภคน้ำอัญชัน เนื่องจากในอัญชันมีฤทธิ์ ทำหน้าที่ละลายลิ่มเลือด ส่งผลให้เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้
*ในผู้ป่วยไต มักจะมีอาการโลหิตจางอยู่แล้ว ยิ่งควรหลีกเลี่ยงการบริโภคน้ำดอกอัญชันค่ะ

หลีกเลี่ยงการรับประทานดอกอัญชัน แบบกินสดๆเพราะกลีบเลี้ยงและขั้วดอกจะมียางที่ทำให้ระคายเคืองในลำคอ ส่วนเมล็ดหากรับประทานเข้าไปสดๆ จะทำให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนได้
🚨ผู้ป่วยโรคไต การเลือกรับประทานอาหารสำคัญมาก เพราะจะช่วยลดภาระการทำงานของไต ไม่ให้ทำงานหนัก และเสี่ยงต่อการคลั่งของของเสียในร่างกายค่ะ
• อาหารดี ไตดี •
• ไตดี อายุยืน •

ด้วยรักและห่วงใย http://www.hrtexo.com/

โรคไต กินผักอะไรดี??
https://youtu.be/5SWw8Q5Dl6Q

••••••••••••••••••••

ประสบการณ์จริงจากผู้ใช้ UMI + HRT

ผลลัพธ์ในภาพและวีดิโอเป็นประสบการณ์เฉพาะบุคคล… ผลลัพธ์การช่วยเรื่องสุขภาพของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน

#ไตเสื่อมระยะสุดท้าย eGFR เหลือแค่ 5.14%, Cr สูง 10.78 
หมอขอให้ฟอกไต แต่ผู้ป่วยขอดูแลตัวเองด้วย umi + hrt ก่อน

หลังตัดสินใจทาน umi 2 ซอง + hrt 1 ซอง ต่อเนื่อง 1 เดือน

                                           ✅ ค่า Cr. จากเดิม 10.78 ลดลงเหลือ 8.35
                                           ✅ ค่า eGFR 5.14% เพิ่มขึ้นเป็น 7%
                                           ✅ ผลเลือดหลายตัวดีขึ้น มีแรง ทานอาหารได้ดีขึ้น

**หมองง ยอมให้เลื่อนการฟอกไต ออกไปก่อนค่ะ


========================================================================

#umiบำรุงตับไต 
#umiขายดีอันดับหนึ่ง 
#umiราคาถูกที่สุด 
#umiของแท้จากอเมริกา

ผลลัพธ์ผู้ป่วยไตเสื่อมกับ UMi
https://youtu.be/3PphlDVZ8Vg

ไตเสื่อม ฟอกไต ล้างไต อาการโรคไต 
โรคไตเสื่อม ดูแลยังไง เกิดจากอะไร 
ศึกษา http://hrtexo.com/umikidney

Agel กินยังไง ง่ายแค่ไหน คลิ๊กดูเลย 👇
https://youtu.be/ww8pt5yO2vo

============

สนใจสั่งซื้อ/ปรึกษา 
ผู้เชี่ยวชาญ คุณอ้อม สารินี
Line : @gelhappylife

สั่งซื้อ ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ คุณอ้อม สารินี
คลิ๊กได้ที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติเลยค่ะ

 line://ti/p/@gelhappylife

วันอังคารที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

ใบบัวบก กับ ผู้ป่วยไตเสื่อม

"ใบบัวบก" ผักใบเขียวเข้ม ผู้ป่วยโรคไต ควรระวัง !!

____________


โรคไต ไตเสื่อม ความผิดปกติของไตในการ

รักษาสมดุลของเหลว และ ระบบเลือด

การควบคุมน้ำและแร่ธาตุต่างๆในเลือด 

การกำจัดยาและพิษออกจากร่างกาย 


หากไตเสื่อม จะขับโพแทสเซียมออกได้น้อยลง

ทำให้ร่างกายมีปริมาณโพแทสเซียมสูงเกินไป 

อาการที่พบ เมื่อมีโพแทสเซียมสูง คือ

✅ เหนื่อยหอบ

✅ อ่อนเพลีย

✅ ใจสั่น

✅ เป็นตะคริว 

✅ คลื่นไส้

✅ ชีพจรเต้นช้าลงหรือจนถึงขั้นหัวใจหยุดเต้นได้  


แต่การได้รับโพแทสเซียมในระดับที่เหมาะสม

จะช่วยลดอาการบวมน้ำในร่างกายของผู้ป่วย 

และป้องกันไม่ให้ร่างกายเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว

ผู้ป่วยจึงควรหมั่นตรวจเลือดและคุมอาหาร  


ผักที่มีโพแทสเซียมสูง ได้แก่ ผักสีเข้มๆ 

บรอคโคลี่ ดอกกะหล่ำ แครอท แขนง กะหล่ำปลี 

ผักโขม ผักบุ้ง ผักกาดขาว ผักคะน้า ผักกวางตุ้ง 

ยอดฟักแม้ว ใบแค ใบคื่นช่าย ข้าวโพด มันเทศ 

มันฝรั่ง ฟักทอง อโวคาโด น้ำแครอท น้ำมะเขือเทศ 

กระเจี๊ยบ น้ำผัก ผักแว่น ผักหวาน สะเดา หัวปลี

ใบบัวบก


โรคไต มักเกิดตามหลัง โรคเบาหวาน

โรคไตอักเสบ ความดันโลหิตสูง โรคเก๊าท์

โรคเอส.แอล.อี. 

ควรควบคุมโรคเหล่านี้ให้ดีก่อนที่จะสาย


โรคไต กินผักอะไรดี??

https://youtu.be/5SWw8Q5Dl6Q


••••••••••••••••••••


#umiบำรุงตับไต 

#umiขายดีอันดับหนึ่ง 

#umiราคาถูกที่สุด 

#umiของแท้จากอเมริกา


ผลลัพธ์ผู้ป่วยไตเสื่อมกับ UMi

https://youtu.be/3PphlDVZ8Vg


ไตเสื่อม ฟอกไต ล้างไต อาการโรคไต 

โรคไตเสื่อม ดูแลยังไง เกิดจากอะไร 

ศึกษา http://hrtexo.com/umikidney


Agel กินยังไง ง่ายแค่ไหน คลิ๊กดูเลย 👇

https://youtu.be/ww8pt5yO2vo


============


สนใจสั่งซื้อ/ปรึกษา 

ผู้เชี่ยวชาญ คุณอ้อม สารินี

Line : @gelhappylife


สั่งซื้อ ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ คุณอ้อม สารินี

คลิ๊กได้ที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติเลยค่ะ

 line://ti/p/@gelhappylife


วันจันทร์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2561

6 อาหารที่คนเป็นโรคไต กินได้ แต่หลายคนเข้าใจผิด 

คิดว่ากินไม่ได้ !


เนย, ขนมปัง, ชา, กาแฟ เป็นโรคไต กินได้ไหม ?

เชื่อว่า บางคนก็ตอบว่า “ได้” และตอบว่า “ไม่ได้”

แต่จะได้ หรือ ไม่ได้ และเพราะอะไร เรามาดูไปพร้อมกันเลยค่ะ ^^


ตอนนี้ ผู้ป่วยไตเสื่อม คงคิดหนัด เพราะมีอาหารหลายอย่าง ที่ตอนนี้เราอาจจะเข้าใจผิด
คิดว่าเป็น โรคไต แล้ว กิน อาหารเหล่านี้ ไม่ได้

และมีคำถามเหล่านี้มาเยอะมาก ๆ ไม่ว่าจะจากคนที่เจอตามที่ฟอกไต หรือแชทเข้ามาคุยในเพจก็ตาม


จึงได้เกิด มีบทความนี้ ล้วนมาจากเรื่องที่เข้าใจผิดกันเยอะมาก ๆ และเป็นคำถามที่เจอประจำ

เพราะฉนั้น บทความนี้คงเป็นข่าวดีสำหรับผู้ป่วยไตเสื่อม ที่ชื่นชอบอาหาร 6 อย่างนี้ แต่คิดว่ากินไม่ได้

1.เนย (Butter)


เชื่อไหมคะ ว่าจริง ๆ แล้ว เนย มีฟอสฟอรัสต่ำ

หลายคนอาจจะ เข้าใจว่ากินไม่ได้? จากที่ฟังใครๆบอกมา

เพราะมีฟอสฟอรัสสูง ไม่ว่าจะเป็น คุณหมอ คุณพยาบาล หรือตำราหลาย ๆ เล่มก็บอกว่า คนไตเสื่อม
กินไม่ได้


..แต่ความจริงก็คืออะไร อย่างไร มาดูกันค่ะ

จริงๆ แล้ว “เนย” ทำมาจากไขมันนม ไม่ใช่ทำจากนม อย่างที่หลายคนเข้าใจ เนื่องจากส่วนไขมันจากนม จะมีฟอสฟอรัสที่ต่ำกว่า นม

ส่วน "ชีส" อันนี้ทำมาจากนม ก็จะมีปริมาณฟอสฟอรัส ที่สูงกว่านั่นเอง (เนย ที่ มีฟอสฟอรัสสูง ที่จริงแล้ว คือ เนยแข็ง ค่ะ)

โดย "เนย" ที่นิยมใช้กันจะมีสองตัว คือ


1. เนยเค็ม ตัวนี้เป็นเนยทาขนมปัง และใช้ทำเบเกอรี่ ทำขนม มากที่สุด จึงไม่แนะนำให้คนที่เป็น
โรคไตเสื่อมทาน เพราะ "เนยเค็ม" จะมีการใส่เกลือลงไปด้วย เลยออกมาเป็นเนยเค็ม และก็จะมีโซเดียมจะสูงไปด้วยค่ะ


2. เนยจืด ตัวนี้เป็นตัวที่แนะนำผู้ป่วยไตเสื่อม ทานได้ค่ะ แต่ ต้องเลือกยี่ห้อ และดู ส่วนประกอบด้วย เพราะบางยี่ห้อ ก็จะผสมนมลงไป ผสมน้ำ ผสมน้ำมัน หรือมีการแต่งเติมรสด้วยสารต่าง ๆ ทำให้มีปริมาณฟอสฟอรัส ที่สูงอยู่

แต่ถ้าเป็นเนยสดแท้ แบบ 100% ก็จะมี ปริมาณฟอสฟอรัส ที่ต่ำค่ะ


**เนยจืด 100 กรัม มีฟอสฟอรัส 24 mg. (ถ้าฟอสฟอรัสต่ำ ค่าจะไม่เกิน 50 mg.)


2.น้ำเต้าหู้ (Soy Milk)


จริง ๆ แล้ว อ้อมอยากจะบอกว่า น้ำเต้าหู้ ผู้ป่วยโรคไตเสื่อม สามารถดื่มได้ เพราะถึงแม้จะทำจากถั่วเหลือง ซึ่งดูแล้วจะมีปริมาณ ฟอสฟอรัสน่าจะสูง ใช่ไหมคะ ?

ความเข้าใจผิดข้อนี้ เรามาทำความเข้าใจกันแบบง่ายๆเลยค่ะ ส่วนของถั่วเหลือง ที่ฟอสฟอรัสสูงนั้น

อยู่ตรงเปลือกแข็ง ๆ ข้างนอก เพราะงั้นถ้าเรากินถั่วเหลืองทั้งเมล็ด เราจะได้รับปริมาณฟอสฟอรัสที่สูงแน่นอนค่ะ

แต่วิธีการทำน้ำเต้าหู้ เราไม่ได้ กินกาก ได้มีการเอากากทิ้ง เหลือแต่ส่วนที่เป็นน้ำ แถมยังเอาไปเจือจางต่ออีกด้วย

ดังนั้น จึงมีปริมาณฟอสฟอรัส ที่เหลืออยู่น้อยนิดค่ะ ตามปริมาณที่คู่มือควบคุมปริมาณฟอสฟรัส
ที่แนะนำคือ น้ำเต้าหู้ 240 ml. จะมีฟอสฟอรัสอยู่เพียง 40 mg. เท่านั้น ซึ่งถือว่าต่ำค่ะ


แต่คำแนะนำเพิ่มเติม คือ ต้องเป็นน้ำเต้าหู้ที่ทำสด และเป็นน้ำเต้าหู้แท้ ๆ ที่ไม่ผสมนมอื่น

เพราะนม ชนิดต่างๆ นี่ละค่ะ ที่จะทำให้ฟอสฟอรัสสูงได้



**น้ำเต้าหู้ 240 ml. มีฟอสฟอรัส 40 mg.  (ถ้าฟอสฟอรัสต่ำ ค่าจะไม่เกิน 50 mg.)


3.แป้งสาลี (Wheat Flour)


แป้งสาลี มีอยู่  3 ชนิด แบ่งออกเป็น แป้งสาลีเอนกประสงค์ แป้งเค้ก และ แป้งขนมปัง

โดยแบ่งตามปริมาณโปรตีนค่ะ ซึ่งแป้งที่แนะนำจะเป็น แป้งสาลีเอนกประสงค์ และแป้งเค้ก

เพราะมีโปรตีนไม่สูงมาก รวมถึงฟอสฟอรัสจะต่ำด้วย



เวลาที่เราได้ยินคนบอกมาว่า ห้ามกินอาหารที่ใช้แป้งสาลี จริง ๆ แล้วต้องดูด้วยค่ะว่า

ขนมนั้นใช้แป้งสาลีชนิดไหน และถ้าเรากินในปริมาณน้อย ก็จะไม่ส่งผลอะไรกับเราแน่นอนค่ะ

ซึ่งวิธีการทำแป้งสาลีนั้น จะใช้เมล็ดข้าวสีขาว เอาจมูกข้าวออกแล้ว (แป้งสาลีเลยมีสีขาว)

จึงทำให้มีปริมาณ ฟอสฟอรัส และสารอาหาร เยอะ กว่าพวกแป้งโฮลวีท ที่ใช้ข้าวสาลีเต็มเมล็ดมาโม่
(สีเลยจะออกมาเหลืองน้ำตาล)


โดย แป้งขนมปัง จะผ่านการโม่แค่รอบเดียว เป็นการโม่แบบหยาบสุด สารอาหารต่าง ๆ เลยยังมีเยอะ

ส่วน แป้งสาลีเอนกประสงค์ ก็ผ่าน 2 รอบ และ แป้งเค้ก ผ่าน 3 รอบ เราสามารถสังเกตได้จาก
แป้งเค้กจะมีเนื้อ เนียน ละเอียดสุด และเบาที่สุดด้วยค่ะ

พราะฉะนั้น แป้งสาลี เลยทานได้ แต่ถ้าจะเอามาทำเบเกอรี่ ต้องดูที่ส่วนผสมอื่น ๆ ประกอบด้วยนะคะ

เช่น ไข่แดง ผงฟู และสารเติมแต่งอื่น ๆ ที่จะต้องควบคุมปริมาณด้วย


ถ้าไม่ดูตรงส่วนนี้ ก็จะมีปริมาณฟอสฟอรัส ที่สูงอยู่ค่ะ เราเลยเข้าใจกันมาตลอดว่า ห้ามกินพวกเบเกอรี่ เพราะเบเกอรี่ที่ขายทั่ว ๆ ไป

คนขายเขาไม่ได้ควบคุมฟอสฟอรัส ให้ผู้ป่วย เนื่องจากคนปกติกินฟอสฟอรัสได้ เพราะไตยังขับออกไปได้นั่นเองค่ะ


**แป้งสาลีเอนกประสงค์ มีปริมาณฟอสฟอรัสขึ้นกับชนิดของพันธุ์ข้าวสาลีของแต่ละประเทศ

โดยเฉลี่ยแล้ว แป้ง 1 กรัม จะมีฟอสฟอรัสประมาณ 1 กรัม เลยจำกัดจำนวนชิ้นของขนมที่เรากิน

ถ้ากินน้อย ฟอสฟอรัสก็จะต่ำค่ะ

4.ชาและกาแฟ (Coffee and Tea)


สำหรับ ชา และ กาแฟ มีจุดร่วมก็คือ ผู้ป่วยไตเสื่อม สามารถทานได้ค่ะ แต่ต้องเป็นแบบที่ไม่ใส่นม ไม่ใช่ 3 in 1 และ ไม่ใช่แบบชงใส่ขวดสำเร็จรูป


จริงๆแล้ว กาแฟ ที่เป็นกาแฟดำ หรือโอเลี้ยง สามารถทานได้ ส่วนชา ก็ควรเป็นชาที่ใส่น้ำร้อนแล้วเป็นถุงแช่

แบบในภาพประกอบนะคะ เพราะ 2 อย่างนี้จริง ๆแล้ว  มีปริมาณฟอสฟอรัสต่ำ เพียงแต่ที่เราเข้าใจกัน ว่ามี ฟอสฟอรัสสูง สูงเพราะมีการใส่นม และสารปรุงแต่ง

ส่วนใหญ่ที่เราเคยได้ยินกันก็คือ ห้ามกินเลย เพื่อความปลอดภัยที่สุด ..แต่ถ้าใครชอบกิน ก็กินตามที่แนะนำนี้ได้นะคะ

ยกเว้นผู้ที่ปัญหาฟอสฟอรัสในเลือดสูงมาก ๆ อันนี้ก็ควรลดไปก่อนน๊าา


**ผงกาแฟ 2 g. มีฟอสฟอรัส 6 mg.

5.ซอสถั่วเหลือง (Soy Sauase)


เครื่องปรุงที่แนะนำมากที่สุด สำหรับผู้ป่วยไตเสื่อม เลยค่ะ เพราะนอกจากจะให้ความเค็มเทียบเท่าน้ำปลา หรือซีอิ๊วขาวแล้ว ยังมีปริมาณโซเดียม ที่ต่ำกว่าน้ำปลาครึ่งนึงเลยค่ะ  มีผู้ป่วยหลายคนคิดว่า

ซอสถั่วเหลือง ก็มาจากถั่วสิ กินได้หรอ วันนี้อ้อมบอกเลยค่ะว่า กินได้แน่นอน


โดยมื้อนึง จะแนะนำให้ใช้ปรุงรส สัก 2-3 ช้อนชาค่ะ


6.ขนมปัง (Bread)


"ขนมปัง" น่าจะเป็นของโปรดของใครหลาย ๆ คนเลย ขนมปังที่แนะนำ จะเป็นขนมปังแผ่นสีขาว
วันนึงกินได้ 1-2 แผ่น และสามารถทาเป็นพวกแยมผลไม้ตามชอบเลยค่ะ

แต่กลุ่มขนมปังมีไส้ และโฮลวีท จะฟอสฟอรัสสูง ไม่แนะนำนะคะ


เมื่อววันใด มื้อใด เบื่อข้าว ก็หันมากินเป็นนมปังแผ่นสีขาวแทนได้ค่ะ



ในทางกระบวนการทำขนมปังที่จากที่อ้อมศึกษามา รวมถึงนักกำหนดอาหารในโรงพยาบาลเอง

ก็คนคอนเฟิร์มมา 100% ค่ะว่า ผู้ป่วยโรคไตเสื่อม กินขนมปังขาวได้ค่ะ



**ขนมปังแผ่น สีขาว 1 แผ่น มีฟอสฟอรัส 25 mg. (ถ้าฟอสฟอรัสต่ำ ค่าจะไม่เกิน 50 mg.)



ครบแล้วค่ะ กับ 6 อาหารยอดฮิต สำหรับปู้ป่วยไตเสื่อม เข้าใจผิด คิดว่ากินไม่ได้

สุดท้ายนี้ อ้อมอยากจะฝากไว้ว่า การกินอาหารต้องกินพอเหมาะ พอดี จนเกิดโรค

และกิน สลับอาหารบ้าง ไม่กินอย่างเดียวซ้ำนาน ๆ ไม่กินบางอย่างมากเกินไป

รับรองว่า สุขภาพและผลเลือดคุณจะดีแน่นอน

=================

***เพราะเราอยากเห็นคนไทยมีสุขภาพดี***

ปรับสมดุลในเลือด  ไม่ให้เหนียวหนืด เลือด ไหลเวียนคล่อง  

"ความเชื่อจากจิตใจที่เข้มแข็ง

จะทำให้ทุกอย่างดีขึ้นได้แน่นอนคะ"
ตับไตหัวใจ  ดี  ฟื้นฟูได้

===============

ไตเสื่อม ฟอกไต ล้างไต อาการโรคไต 
โรคไตเสื่อม ดูแลยังไง เกิดจากอะไร 
ศึกษาเพิ่มเติม คลิ๊ก http://www.hrtexo.com


คลิ๊กที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติรับข้อมูลสุขภาพดีๆได้เลยค่ะ line://ti/p/@gelhappylife
อย่าลืมแชร์บทความนี้ให้เพื่อน ๆ ด้วยนะค๊าา ขอบคุณมากค่ะ


โภชนาการสำหรับผู้ป่วย ไตเสื่อม

ความสำคัญของการควบคุมอาหาร

การควบคุมอาหารมีความสำคัญต่อผู้ที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง หรือ ไตเสื่อมเรื้อรัง เพราะจะช่วยให้

  1. ชะลอการเสื่อมของไต
  2. ยืดเวลาที่จะต้องล้างไตให้ช้าลง
  3. ลดภาระการทำงานของไตในการขับถ่ายของเสีย
  4. ทำให้ไตส่วนที่เหลืออยู่ไม่ต้องทำงานหนักเกินตัว
  5. ลดการคั่งของของเสียที่เกิดจากการรับประทานอาหาร
  6. ป้องกันภาวะขาดสารอาหาร
  7. ช่วยให้มีสุขภาพดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สารอาหารที่มีผลต่อไต

ผู้ป่วย ไตเสื่อม ควรจำกัดและหลีกเลี่ยงอาหารบางชนิด เนื่องจากเมื่อไตไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ การได้รับสารอาหารบางชนิดมากเกินไป ก็อาจทำให้เกิดปัญหาสุขภาพ และร่างกายมีการสะสมของเสียมากเกินไป


กลุ่ม โซเดียม ร่างกายต้องการโซเดียมในปริมาณเล็กน้อยเพื่อควบคุมความดันโลหิต แต่เมื่อ ไตเสื่อม ร่างกายจะไม่สามารถกำจัดโซเดียมส่วนเกินออกไปได้ ก็จะทำให้เกิดอาการ ดังนี้

  1. มีน้ำคั่งและเกิดอาการบวม 
  2. มีความดันโลหิตสูง 
  3. มีน้ำท่วมปอด 
  4. และอาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้

และเมื่อไตเสื่อม ก็จะทำให้ ผู้ป่วยไตเสื่อม ไม่สามารถ ทานอาหารได้เหมือนเดิมอาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ 
       
อาหารที่มีโซเดียมสูง เช่น ปลาเค็ม แฮม เบคอน ใส้กอก อาหารดอง ขนมขบเคี้ยว เนยแข็ง 
และอีกกลุ่ม อาหารรสจืดแต่มีโซเดียม เป็นส่วนประกอบ เช่น ขนมปังเนื่องจากมีการใช้ผงฟู





กลุ่ม โพแทสเซียม เป็นเกลือแร่ที่ช่วยให้การทำงานของกล้ามเนื้อและประสาทเป็นไปตามปกติ 
เมื่อไตทำงานลดลง การขับโพแทสเซียม ทางปัสสาวะก็จะลดลงด้วยเช่นกัน ทำให้เกิดการสะสมของโพแทสเซียม 
ถ้ามีโพแทสเซียมสูง ผู้ป่วยไตเสื่อม ก็จะเริ่มมีอาการ ดังนี้
  1. กล้ามเนื้ออ่อนแรง 
  2. เป็นตะคริว 
  3. หัวใจเต้นผิดปกติได้ 
ผู้ป่วย ไตเสื่อมระยะเริ่มต้นและปานกลาง ซึ่งไตยังพอขับถ่ายของเสียได้ดี มีปัสสาวะจำนวนมากและระดับของโพแทสเซียมในเลือดไม่สูงมาก สามารถรับประทานผักและผลไม้ได้โดยไม่ต้องจำกัด
แต่สำหรับผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย ที่มีระดับโพแทสเซียมในเลือดสูงกว่า 5.0 มก./ดล.
ควรควบคุมปริมาณผักและผลไม้
โดยเลือกรับประทานผักและผลไม้ที่มีโพแทสเซียมต่ำได้วันละ 1-2 ครั้ง
       
กลุ่มที่มีโพแทสเซียมต่ำ เช่น กะหล่ำปลี ดอกกะหล่ำ แตงกวา ผักกาดหอม ถั่วงอก องุ่น สับปะรด เป็นต้น

อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ อาหารที่มีโพแทสเซียมสูง
เช่น ผลไม้แห้งทุกชนิด ทุเรียน มะขาม แคนตาลูป น้ำลูกยอ มะเขือเทศ ผักใบเขียว หัวผักกาด กล้วย ส้ม มะละกอ ขนุน เป็นต้น

กลุ่ม ฟอสฟอรัส เมื่อไตวาย ร่างกายจะมีปัญหาการดูดซึมแคลเซียม และการกำจัดฟอสฟอรัส จะทำให้ร่างกายได้รับแคลเซียมน้อย และมีฟอสฟอรัสในเลือดมากเกินไป

อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ รำข้าว เนยแข็ง นมและผลิตภัณฑ์จากนม นมข้นหวาน ไข่ปลา ไข่แดง กุ้ง ปู ผลิตภัณฑ์ที่ใส่ผงฟู ถั่วเมล็ดแห้ง น้ำอัดลมสีดำ เป็นต้น

กลุ่ม โปรตีน เป็นสารอาหารที่ร่างกายต้องการ ผู้ป่วยไตเสื่อม ก็ยังต้องรับประทานอาหารที่ให้โปรตีน แต่ควรจำกัดปริมาณอาหารที่มีโปรตีนสูง ทั้งจากพืชและเนื้อสัตว์ ไม่ให้มากเกินไป เพื่อเป็นการลดการทำงานของไต

อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ได้แก่ เนื้อสัตว์ที่มีไขมันและคอเลสเตอรอลมาก เช่น ไข่แดง เครื่องในสัตว์ หนังหมู หนังเป็ดและไก่ เนื้อหมูและเนื้อวัวติดมัน ซี่โครงหมูที่ติดมันมาก หมูหัน เป็ดปักกิ่ง หมูสามชั้น หมูกรอบ เป็ดย่าง ห่านพะโล้ ไข่ปลา ไข่กุ้ง 

และ เนื้อสัตว์ที่มีกรดอะมิโนจำเป็นไม่ครบ ซึ่งทำให้ไตทำงานขับถ่ายของเสียหนักขึ้น เช่น เอ็นหมู เอ็นวัว เอ็นไก่ หูฉลาม ตีนเป็ด ตีนไก่ หนังสัตว์ กระดูกอ่อน รวมทั้งถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ และขนม อาหารที่มีไส้ถั่ว

ข้อควรปฏิบัติ

ควรรับประทานอาหารให้หลากหลายในแต่ละมื้ออาหารและครอบคลุมกลุ่มข้าว เนื้อสัตว์ ผัก และผลไม้

ผู้มีภาวะไตเรื้อรังห้ามใช้ซอสปรุงรสเทียม เกลือเทียม ซีอิ๊วเทียม น้ำปลาเทียม หากต้องการเพิ่มรสชาติอาหารให้ใช้เครื่องเทศแทน


ด้วยความห่วงใจจากเราคะ

--------

#ดูแลสุขภาพ #ฟื้นฟูร่างกาย #ห่างไกลโรค

สอบถามสุขภาพ และ รับข้อมูลดีๆ

ศึกษาเพิ่มเติม คลิ๊ก http://www.hrtexo.com


คลิ๊กที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติรับข้อมูลสุขภาพดีๆได้เลยค่ะ line://ti/p/@gelhappylife
อย่าลืมแชร์บทความนี้ให้เพื่อน ๆ ด้วยนะค๊าา ขอบคุณมากค่ะ



ปัสสาวะเป็นฟอง ต้องระวัง !! อาจเป็นหนึ่งในสัญญาณ ของอาการ  " ไตเสื่อม "




ไตเสื่อม ส่งผลยังไงบ้าง ?

ปล่อยให้ไตเสื่อมไปนานๆ จนมีอาการ
  1. ตัวบวม ขาบวม
  2. น้ำท่วมปอด เหนื่อยง่าย
  3. ไม่อยากทานข้าว
  4. นอนติดเตียง




สุดท้าย ไตวายเฉียบพลัน อาจโดน --> ฟอกไต ได้นะคะ

ใครๆก็ไม่อยาก ฟอกไต
เรามาเริ่มสำรวจตัวเองกันเลยค่ะ

เราจะทราบได้อย่างไร ว่าไตเริ่มเสื่อม ?

✔ฟองมีลักษณะคล้ายฟองเบียร์ หรือฟองสบู่เป็นฟองขุ่นๆ

✔ปัสสาวะมีไขสีขาวออกมา แสดงว่ามีไข่ขาว หรือโปรตีนรั่ว อาจเป็นไตวาย

✔ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะตอนกลางคืน ต้องตื่นมากลางดึกเพื่อปัสสาวะ

✔มีอาการปวดหลังปวดเอว อ่อนเพลียเรื้อรัง ไม่มีเรี่ยวแรง วิงเวียน หน้ามืด ตาลาย ปวดศรีษะเบื่ออาหาร

✔ ทานยา โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด เป็นประจำ ระวังยาเคมีลงไต

 ขอให้สันนิษฐานไว้เลยว่า อาจจะเป็น โรคไต!!

🔶 เพราะ "ไต" มีหน้าที่กรองเลือด ที่ไหลเวียนผ่านมาเพื่อขับของเสีย
และน้ำส่วนเกินออกจากร่างกาย ในรูปแบบของปัสสาวะ

เมื่อไตมีการอักเสบเกิดขึ้น จะทำให้การกรองเลือดที่ไหลเวียน ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ

ส่งผลทำให้มี โปรตีน และ เม็ดเลือดแดง
รั่วออกออกมาในปัสสาวะ
   
🔶 ผู้อยู่ในกลุ่มเสี่ยงข้างต้น หากสังเกต เริ่มการรักษาที่ถูกวิธี
สามารถชะลอการลุกลามไตเสื่อม ไม่ให้พัฒนาไปเป็นโรคไตเรื้อรัง ระยะสุดท้ายได้นะคะ

ด้วยความห่วงใจจากเราคะ

--------

#ดูแลสุขภาพ #ฟื้นฟูร่างกาย #ห่างไกลโรค

สอบถามสุขภาพ และ รับข้อมูลดีๆ

ศึกษาเพิ่มเติม คลิ๊ก http://www.hrtexo.com


คลิ๊กที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติรับข้อมูลสุขภาพดีๆได้เลยค่ะ line://ti/p/@gelhappylife
อย่าลืมแชร์บทความนี้ให้เพื่อน ๆ ด้วยนะค๊าา ขอบคุณมากค่ะ