วันจันทร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2560

อาหารต้องห้าม สำหรับคนเป็นไต


อาหารต้องห้ามสำหรับคนเป็นโรคไต

ทำไมเป็นโรคไต แล้วต้องเลี่ยงอาหารที่มีโพแทสเซียม
โพแทสเซียม เป็นเกลือแร่ชนิดหนึ่ง ที่ช่วยควบคุมการทำงานของระบบประสาท และกล้ามเนื้อในร่างกาย โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจ


⇨ ส่วนไตมีหน้าที่กรองเอาสารอาหารที่ประโยชน์กลับขึ้นไปดูแลร่างกายผ่านกระแสเลือด และแยกเอาสารอาหารที่เกินความจำเป็นออกไป 
หากไตเสื่อม ไตก็จะกรองเอาโพแทสเซียมออกจากร่างกายได้น้อยลง ดังนั้นผู้ป่วยโรคไตจึงควรจำกัดการทานอาหารที่มีโพแทสเซียมไม่ให้สูงเกินไป

ผู้ป่วยโรคไตควรทานอาหารที่มีโพแทสเซียม
จะให้ไม่ทานเลยก็ไม่ได้ เพราะอย่างไรก็ตาม โพแทสเซียมยังพอมีประโยชน์กับผู้ป่วยโรคไตอยู่บ้าง เพราะโพแทสเซียมช่วยลดอาการบวมน้ำในร่างกายของผู้ป่วย ช่วยปรับสมดุลของน้ำในร่างกายให้เป็นปกติ และป้องกันไม่ให้ร่างกายเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวอีกด้วย

อาหารโพแทสเซียม ที่ผู้ป่วยโรคไตควรหลีกเลี่ยง
ผักสด โดยเฉพาะผักสีเข้มๆ นมไขมันต่ำ หรือไม่มีไขมัน ถั่วต่างๆ และธัญพืช


ตัวอย่างอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง
ผงโกโก้                           อินทผาลัม        
ลูกพรุนอบแห้ง                 
 ปลาแซลมอน
ลูกเกด                            
 เห็ด
เมล็ดทานตะวัน                
 ผักโขมสด
กล้วย                              
 ส้ม


โพแทสเซียมสูง
จะส่งผลต่อร่างกายอย่างไรบ้างหากร่างกายมีปริมาณโพแทสเซียมสูงเกินไป อาจมีอาการเหนื่อยหอบ อ่อนเพลีย ใจสั่น คลื่นไส้ เป็นตะคริว ชีพจรเต้นช้าลง



ทางเลือกผู้ป่วยไต บำรุง ฟื้นฟูไต ปลอดภัย 
ไม่มีผลข้างเคียง คลิ๊กเลย http://www.hrtexo.com/umikidney


คลิ๊กที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติรับข้อมูลสุขภาพดีๆได้เลยค่ะ line://ti/p/@gelhappylife

วันจันทร์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2560

ผลไม้ ที่ ผู้ป่วยไต กินได้ ปลอดภัย


ผลไม้ที่ผู้ป่วยโรคไตกินได้ ปลอดภัย อาการไตไม่กำเริบ

👉เลือกกินอย่างไรให้ปลอดภัย แล้วอาการของโรคไตจะได้ไม่กำเริบ
ไม่ใช่ว่าเราจะสามารถกินผลไม้ทุกชนิดได้ทั้งหมดหรอกนะคะ โดยเฉพาะกับผู้ป่วยโรคไต เพราะผู้ป่วยโรคไตมักจะมีความบกพร่องในการขจัดโพแทสเซียมออกจากร่างกาย ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะโซเดียมมากเกินไป ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายและระบบหัวใจได้ และโดยส่วนมากผู้ป่วยมักจะเผลอบริโภคโซเดียมจากผลไม้เข้าไปโดยที่ไม่รู้ตัว ดังนั้นสำหรับผู้ป่วยโรคไต จึงควรระมัดระวังในการรับประทานผลไม้เอาไว้ด้วย ซึ่งผลไม้ที่ผู้ป่วยโรคไตกินได้อย่างปลอดภัย ก็มีดังนี้

👉ผลไม้ที่ผู้ป่วยโรคไตกินได้ ในปริมาณที่เหมาะสม
➣ มังคุด 3 ผล
➣ ชมพู่ 2 ผล
➣ องุ่นเขียว 8-10 ผล
➣ เงาะ 4 ผล
➣ มะม่วงดิบ
➣ สับปะรด 8 ชิ้นคำ
➣ ลูกแพร์
➣ แอปเปิล 1/2 ผลกลาง
➣ พุทรา 2 ผลใหญ่
➣ ลองกอง 6 ผล




ผลไม้ทั้งหมดนี้จัดอยู่ในกลุ่มผลไม้ที่มีปริมาณโพแทสเซียมต่ำ ซึ่งถือว่าปลอดภัยต่อผู้ป่วยโรคไตที่ควรจำกัดปริมาณโพแทสเซียมให้ไม่เกิน 4.7 กรัมต่อวัน


และแม้ว่าผลไม้ทุกชนิดมีประโยชน์ในตัวเองก็จริง แต่ทุกสิ่งบนโลกใบนี้ย่อมมีข้อยกเว้น อย่างผลไม้ตามรายการข้างล่างนี้ ที่มีปริมาณโพแทสเซียมค่อนข้างสูง เสี่ยงต่อสุขภาพของผู้ป่วยโรคไตพยายามหลีกเลี่ยงจะดีกว่า

👉ผลไม้ต้องห้ามสำหรับผู้ป่วยโรคไต ควรทานอย่างระวัง
มะเพือง
กล้วย
ส้ม
แตงโม
มะละกอ
มะพร้าว
ทุเรียน
มะม่วงสุก
ขนุน
มะขามหวาน
แก้วมังกร
ฝรั่ง
ลำไย
น้อยหน่า

มะปราง
แคนตาลูป
กระท้อน
ผลไม้อบแห้งทุกชนิด เช่น ลูกเกด ลูกพรุน เป็นต้น
ผลไม้หมักดองทุกชนิด
ผลไม้แช่อิ่มทุกชนิด

นอกจากผลไม้เหล่านี้จะมีปริมาณโพแทสเซียมสูงแล้ว ยังอาจมีโซเดียมและน้ำตาลที่อาจส่งผลเสียต่อระบบการทำงานของไตและระบบภายในร่างกายอื่น ๆ ได้ด้วยนะคะ ดังนั้นก็อย่างที่บอกไว้ว่า หากมีภาวะไตทำงานผิดปกติ ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานผลไม้ดังกล่าวจะดีกว่า


ทางเลือกผู้ป่วยไต บำรุง ฟื้นฟูไต ปลอดภัย 
ไม่มีผลข้างเคียง คลิ๊กเลย http://www.hrtexo.com/umikidney

คลิ๊กที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติรับข้อมูลสุขภาพดีๆได้เลยค่ะ line://ti/p/@gelhappylife


วันพุธที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2560

ระยะ ของ "โรคไต"


โรคไตมีกี่ระยะ


ระยะของโรคไตนั้นมีทั้งหมด 5 ระยะ

ระยะที่1 จะสามารถตรวจพบความผิดปกติของไต เช่น ปัสสาวะมีตะกอนผิดปกติ แต่ไตก็ยังคงทำงานได้ปรกติในระยะนี้

การดูแลรักษา : ต้องงดสูบบุหรี่ รักษาโรคที่เป็นสาเหตุที่ ทำให้เกิดโรคไต อาทิ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคเอสแอลอี (ภูมิคุ้มกันผิดปกติ) โรคเก๊าท์ นิ่วในไต ไตอักเสบ การติดเชื้อปัสสาวะซ้ำ ๆ


ระยะที่ 2 ไตเริ่มทำงานได้น้อย 3 ใน 4 ส่วน หรือ 60-90% 

การดูแลรักษา : ลดปริมาณอาหารที่มีรสเค็ม


ระยะที่ 3 ไตเริ่มทำงานลดลง 1 ใน 2 ส่วน หรือ 30-60% 

การดูแลรักษา : ลดอาหารจำพวกโปรตีน 



ระยะที่ 4 ไตเริ่มทำงานได้น้อย 1 ใน 4 ส่วน หรือ 15-30%

การดูแลรักษา : จำกัดการบริโภคผัก 
ผลไม้ต่างๆ 



ระยะที่ 5 เป็น "ระยะไตวาย" ซึ่งในระยะนี้ไตจะทำงานได้ น้อยกว่า 15%

การดูแลรักษา : เตรียมตัวล้างไต หรือผ่าตัดเพื่อปลูกถ่ายไต







ทางเลือกผู้ป่วยไต บำรุง ฟื้นฟูไต ปลอดภัย 
ไม่มีผลข้างเคียง คลิ๊กเลย http://www.hrtexo.com/umikidney

คลิ๊กที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติรับข้อมูลสุขภาพดีๆได้เลยค่ะ line://ti/p/@gelhappylife