วันพฤหัสบดีที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2560

ความรู้เกี่ยวกับโรคไต


ความรู้เกี่ยวกับโรคไต

โรคไต อายุมากขึ้น ไตเริ่มเสื่อมตาม....

➽ กินยาเยอะ
ดื่มน้ำน้อย เลือดหนืดไตหนัก
ทานอาหารรสจัด ( #ความดัน )
รสหวาน ( #เบาหวาน )
อาหารมัน ( #ไขมันในเลือด )
ดื่มแอลกฮอล์ล เป็นประจำ ( #เก๊าต์ )


พฤติกรรมเสี่ยง โดยปฎิบัติติดต่อกัน มาเป็นเวลานานนนนนนน







"โรคไตวาย" เกิดจากไต  ไม่สามารถ ขับน้ำเกลือแร่และของเสียออกจากร่างกายได้ ทำให้..ร่างกายเสียสมดุล การก่อตัวของโรคมักเป็นไปอย่างช้าๆ โดยมี โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง รวมถึง โรคเก๊าท์ เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคไตวายเป็นส่วนใหญ่

สาเหตุของโรคไต
โรคไตเกิดได้จากหลายสาเหตุ ดังนี้
โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิตสูง
การอักเสบจากการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
นิ่วของระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคต่อมลูกหมาก
เนื้องอกของทางเดินปัสสาวะ
การอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะชนิดไม่ติดเชื้อแบคทีเรีย
โรคถุงน้ำในไต
โรคไตอักเสบกลุ่มอาการอัลพอร์ต
เนื้องอกที่ไต
โรคภูมิแพ้เซลล์ตนเองหรือโรคเอสแอลอี
การได้รับยาและสารเคมีซึ่งเป็นพิษต่อไต
การบาดเจ็บที่ไต
การได้รับสารพิษจากงูและแมลงมีพิษ
การเป็นโรคไขข้อชนิดที่เรียกว่า เกาต์

ข้อสังเกต
บื้องต้นเมื่อไตเสื่อม

1. หนังตา ใบหน้า เท้า ขา และลำตัวบวม

2. ซีด อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ไม่มีแรง ไม่กระฉับกระเฉง

3. ปัสสาวะผิดปกติ เช่น ขุ่น เป็นฟอง เป็นเลือด สีชาแก่/น้ำล้างเนื้อ 

4. ท้องอืด ท้องเฟ้อ คลื่นไส้ อาเจียน

5. การถ่ายปัสสาวะผิดปกติ เช่น บ่อย แสบ ขัด ปริมาณน้อย 

6. เบื่ออาหาร การรับรสอาหารเปลี่ยนไป

7. ปวดหลัง คลำได้ก้อน บริเวณไต 

8. ปวดศีรษะ นอนหลับไม่สนิท

9. ความดันโลหิตสูง


เรื่องที่ คนปกติ ควรรู้
ตามปกติเมื่อคนเรา อายุ 30 ปี ขึ้นไป ไตจะเสื่อมตามธรรมชาติ ร้อยละ 1 ต่อปี แต่ การที่ไตเสื่อมอย่างรวดเร็วหรือหยุดการทำงานทันที เราเรียกว่า "โรคไตวายเฉียบพลัน "ซึ่งอาจจะกลับเป็นปกติได้
ถ้าได้การรักษาที่เหมาะสม !!!
ถ้าไตเสื่อมลงอย่างช้า ๆ และต่อเนื่อง จะทำให้ไตเกิดความผิดปกติอย่างถาวร เรียกว่า "โรคไตเรื้อรัง "

หน่วยกรองไต เมื่อพังแล้ว กลับคืนสภาวะปกติ ไม่ได้ อีกต่อไป

การตรวจเลือด วัดค่าไต
ครีเอตินิน (Creatinine)
ตัวย่อ Cr ไม่เกิน 1.5
Glomerular filtration rate หรือ GFR
มากกว่า 90 ยิ่งสูงยิ่งดี
Blood Urea Nitrogen หรือที่เรียกว่า BUN เป็นการวัดปริมาณไนโตรเจนในกระแสเลือด
10 - 20 mg / dl (ถ้าน้อยอาจมีปัญหาที่ตับ)

อายุมากขึ้น ควรตรวจไว้บ้างนะคะ


ด้วยความห่วงใจจากเราคะ

ไตเสื่อม ฟื้นฟูไต บำรุงได้

#umiบำรุงไต #เพิ่มภูมิต้านทาน #สุขภาพดี
ทางเลือกผู้ป่วยไต บำรุง ฟื้นฟูไต ปลอดภัย 
ไม่มีผลข้างเคียง คลิ๊กเลย http://www.hrtexo.com/umikidney

คลิ๊กที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติรับข้อมูลสุขภาพดีๆได้เลยค่ะ line://ti/p/@gelhappylife

"โพแทสเซียม" คนเป็นโรคไต ต้องรู้

Potassium โพแทสเซียม คนเป็นโรคไตต้องรู้

ผู้ฟอกไต/ที่แพทย์ระบุว่าไตวายเรื้อรังควรปฏิบัติดูแลเข้มงวด

เนื่องจาก โพแทสเซียมถูกขับออกทางไต ไตเสื่อมทำให้เกิดการคั่งของโพแทสเซียม ผู้ป่วยไตวายมักจะมีการคั่งของ โพแทสเซียม ถ้าระดับโพแทสเซียมสูงมากอาจทำให้หัวใจหยุดเต้นได้





🍎🍎หากต้องการรับประทานผลไม้ควรรับประทานก่อนการฟอกเลือด🍎🍎

ผักที่มีโพแทสเซียม 
สูงควรงด ได้แก่ หัวปลี ผักชี ต้นกระเทียม
ผักที่มีโพแทสเซียมที่มีมากได้แก่ บร๊อคโคลี่ แครอท มันเทศ ผักบุ้ง เห็ดฟาง มะเขือพวง มะเขือเปราะ ใบแมงลัก โหระพา หน่อไม้ฝรั่ง หอมแดง ผักปวยเล้ง มันฝรั่ง มะเขือเทศ ดอกกระหล่ำ ถั่วต่างๆ เม็ดทานตะวัน กาแฟ น้ำนม
ผักที่มีโพแทสเซียม ปานกลาง ได้แก่ เห็ดนางฟ้า แตงกวา ฟักเขียว พริกฝรั่ง หัวผักกาดขาว มะเขือเทศสีดา ผักกาดขาวใบเขียว พริกหยวก
ผักที่มีโพแทสเซียม น้อย ได้แก่ บวบเหลี่ยม ถัวพู หอมหัวใหญ่ ผักที่มีน้อยที่สุดคือเห็ดหูหนู
ผลไม้ที่มีโพแทสเซียมสูง ควรงดได้แก่  ทุเรียนหมอนทอง และชะนี


  • รองลงมา ได้แก่ มะพร้าว กล้วย ลำไยพันธ์ต่างๆ 
  • มีปานกลาง ได้แก่ ฝรั่ง มะขาม กระท้อน ส้ม ลางสาด องุ่น มะม่วง มะละกอสุก ลิ้นจี่ ละมุด ขนุน ลูกพรุน ลูกเก็ด
ผักและผลไม้ที่พอรับประทานได้
แต่ ปริมาณไม่มากได้แก่ ถั่วพู ถั่วผักยาว มะเขือยาว 
หน่อไม้ตรง ผักคะน้า ถั่วลันเตา มะระ หัวผักกาดขาว มะม่วง มะละกอ องุ่น แตงโม แอปเปิ้ล ชมพู่
ผักที่รับประทานได้ กะหล่ำปลี แตงกวา บวบ ฟักเขียว ถั่วงอก
📢 ผู้ที่มีโพแทสเซียมในเลือดสูง(มากกว่า) ควรจะงดผลไม้ทุกชนิดต่อเมื่อแพทย์สั่งเท่านั้น
ด้วยความห่วงใจจากเราคะ

ไตเสื่อม ฟื้นฟูไต บำรุงได้

#umiบำรุงไต #เพิ่มภูมิต้านทาน #สุขภาพดี
ทางเลือกผู้ป่วยไต บำรุง ฟื้นฟูไต ปลอดภัย 
ไม่มีผลข้างเคียง คลิ๊กเลย http://www.hrtexo.com/umikidney

คลิ๊กที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติรับข้อมูลสุขภาพดีๆได้เลยค่ะ line://ti/p/@gelhappylife